โพสต์ยอดนิยม

วันอาทิตย์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2564

ศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย

        วรรณคดีโบราณของไทยมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อการอ่านฟังเสียงและการขับลำนำประกอบการแสดงมหรสพ เช่น บทละคร บทพากย์ เป็นต้น 

1.การเล่นเสียง คือ การสรรคำให้มีเสียงสัมผัสเป็นพิเศษกว่าปกติเพื่อให้เกิดทำนองเสียงที่ไพเราะน่าฟัง และอวดฝีมือของกวี มีทั้งการเล่นเสียงพยัญชนะ เล่นเสียงสระ และวรรณยุกต์




2.การเล่นคำ คือ การสรรคำมาเรียงร้อยในคำประพันธ์โดยพลิกแพลงให้เกิดความหมายพิเศษและแปลกออกไปจากที่ใช้กันอยู่ เพื่ออวดฝีมือของกวีเช่นเดียวกับการเล่นเสียง ที่จะกล่าวถึงในที่นี้คือการเล่นคำพ้อง การเล่นคำซ้ำ และการเล่นคำเชิงถาม





3.การใช้ภาพพจน์ คือ การใช้ถ้อยคำเพื่อสร้างจินตภาพ (ภาพในใจ) แก่ผู้อ่านโดยการเรียบเรียงถ้อยคำด้วยวิธีการต่างๆ ให้พิเศษกว่าการเรียงลำดับคำหรือการใช้ความหมายของคำตามปกติ 











0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย

         วรรณคดีโบราณของไทยมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อการอ่านฟังเสียงและการขับลำนำประกอบการแสดงมหรสพ เช่น บทละคร บทพากย์ เป็นต้น  1 . การเล่นเสีย...